วันศุกร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 6

วันศุกร์  ที่  26  กันยายน  พ.ศ. 2557

ความรู้ที่ได้รับ  












แผนการเรียนเรื่องดอกมะลิ




การนำไปใช้: หาเศษวัสดุเหลือใช้มาทำสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาตร์ให้เด็กเกิดความสงสัยอยากรู้อยากทดลองเพื่อให้เกิดทักษะต่างๆ

ประเมิน: ตนเอง: เข้าใจและสามารถที่จะเชื่อมต่อความรู้นำไปสู่การปฏิบัติได้
        เพื่อน:  มีความสนใจและสนุกสนานกับกิจกรรมที่ได้ทำ ตอบคำถามและสังเกตไปพร้อมๆกัน
        อาจารย์: เทคนิคการสอนโดยให้นศ.มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและค้นหาคำตอบด้วยตนเองทำให้นศ. เข้าใจถึงเนื้อหาสาระได้ง่าย


วันเสาร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5 
วันศุกร์ ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2557

ความรู้ที่ได้รับ




กิจกรรมกังหันลม : อุปกรณ์ การะดาษพับครึ่ง  ไม้  กาว



                

การนำไปใช้: ให้เด็กได้ลงมือประดิษฐ์เองตามความคิดสร้างสรรค์และหาวิธีการเล่นที่หลากหลายด้วยตนเอง

ประเมิน 
ตนเอง : สามารถที่จะเข้าใจในเนื้อหาได้มากขึ้น มีประสบการณ์ในการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น
เพื่อน :  สามารถที่คิดแก้ไขปัญหาได้ดี มีการช่วยเหลือกัน
อาจารย์ : นำเทคการสอนโดยให้นศ.ทุกคนทำกิจกรรมร่วมกันภายในห้องเรียน ให้เกิดความสงสัยอยากรู้ว่าสิ่งประดิษฐ์นี้เล่นอย่างไรทำให้เกิดความสนุกสนานในการเรียนการสอน   



บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 4
วันศุกร์ ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2557


ความรู้ที่ได้รับ




การนำไปใช้ : หาสิ่งประดิษฐ์ที่ให้เด็กได้ลงมือกระทำปฏิบัติเอง
เช่น การทำกะหันลม
 ประเมิน: ตนเอง  เข้าใจถึงวิธีการเรียนรู้ของเด็กเพิ่มขึ้นว่าเด็กจะเรียนรู้โดยผ่านการลงมือปฏิบัติ
         เพื่อน   สามารถที่จะอธิบายหรือบอกความเป็นธรรมชาติของการเรียนรู้ของเด็กได้ดีมากขึ้น
         อาจารย์ ใช้วิธีกระตุ้นให้นศ.ได้คิดว่าเด็กปฐมวัยมีการเรียนรู้แบบใด วิธีการเรียนรู้ของเด็กนั้นจะต้องเริ่มจากอะไรก่อนโดยใช้คำถามชวนคิด







วันศุกร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2557

บทความ


ชื่อบทความ Project Atelier ( ห้องปฏิบัติการและความคิดสร้างสรรค์ )
ค้นคว้าวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2557
โดย ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ
     ศิลปะกับวิทยาศาสาตร์ 
 ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ ได้แนะนำพื้นฐานทางวิมยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยไว้ดังนี้
1. การสังเกต เช่น นำภาพรถยนต์กับรถบรรทุกมาเปรียบเทียบกันว่าอะไรที่เหมือนหรือแตกต่างกัน ซึ่งเด็กอาจตองได้หลากหลายคำตอบ
2. การฝึกประสาทสัมผัส การฟัง รับรู้รส ดมกลิ่น สัมผัส เช่น การนำผลไม้มาหลายชนิด แล้วปิดตาเด็กให้เด็กได้ดมกลิ่น สัมผัส รับรู้รส และให้ทายว่าเป็นผลไม้อะไร
3. การค้นพบสิ่งที่น่าสนใจในธรรมชาติรอบตัวเด็ก เช่น มด "เด็กอาจถามว่ามดมีกี่ขา  แล้วเป็นตัวผู้หรือตัวเมีย" แล้วก็หาหนังสือเกี่ยวกับมดมาเพิ่มเติมให้กับเด็ก
4. การเรียนรู้สุขอนามัยและฝึกความปลอดภัย เช่น ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร
5. การคาดการณ์ เช่น สภาพอากาศที่แดดจัดเด็กควรนำร่ม หรือหมวกไปด้วย
6. การฝึกลำดับเหตุการณ์ เช่น ก่อนฝนตก ฟ้าจะมืดครึ้ม มีฟ้าแลบ ฟ้าร้องและฝนก็ตกลงมา
7. การฝึกการวัด เช่น การชั่งน้ำหนัก การตวงสิ่งของต่างๆ
8. การสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ เช่น นำกล่องนม ขวดพลาสติก มาสร้างเป็นหุ่นยนต์หรือบ้าน

 การสร้างงานศิลปะสำหรับเด็กปฐมวัยเราไม่ได้เน้นความสวยงามแต่เราฝึกให้เด็กมีจิตใจที่อ่อนโยน ฝึกการสังเกต จิตนาการที่ดี มีความอดทน ฝึกสมาธิให้กับเด็ก

สรุป  ศิลปะกับวิทยาศาสตร์ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ เช่น การสังเกต การเปรียบเทียบ สมาธิ ความอดทนโดยผู้ใหญ่เปิดโอกาสและช่วยเหลือเด็กในการเรียนรู้และฝึกฝนเพื่อเป็นประสบการณ์ของเด็กแล้วสามารถนำไปประยุกต์ใช้เป็นสิ่งที่ประดิษฐ์เกิดขึ้นใหม่



บันทึกการเข้าเรียน ครั้งที่ 3
วันศุกร์ ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2557

ความรู้ที่ได้รับ



การนำไปใช้ : ครูจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็ก
ประเมิน : ตนเอง  มีความตั้งใจและตอบคำถามถึงจะถูกบางผิดบางก็เป็นความรู้อย่างหนึ่งที่ดี
         เพื่อน   มีความสนใจในเนื้อหาที่เรียนและช่วยกันตอบคำถามอย่างสร้างสรรค์
         อาจารย์ สามารถที่จะเชื่อมโยงองค์ความรู้ให้นศ.เข้าใจถึงเนื้อหาสาระได้ง่ายและเข้าใจได้เร็วขึ้น








บันทึกการเรียน ครั้งที่ 2
วันศุกร์ ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2557

มีกิจกกรมรับน้อง...............