วันจันทร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2557

สิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์

แท่งยิง
วัสดุอุปกรณ์
กาวร้อน    กรรไกร    กระดาษแข็ง   ไม้ไอติม    ที่หนีบผ้า


   
ขั้นตอน
1. ตัดกระดาษหลังให้เป็นสี่เหลี่ยม
2. นำตัวหนับมาติดกับกระดาษหลังที่ตัดไว้
3. จากนั้นติดไม่ไอติมกับตัวหนีบ
4.  แล้วนำฝาขวดน้ำมาติดกับไม้ไอติมเป็นอันเสร็จ



พลังงานศักย์ (Potential Energy) เป็นพลังงานที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุถูกวางอยู่ในตำแหน่งที่สามารถ เคลื่อนที่ได้ไม่ว่าจากแรงโน้มถ่วงหรือแรงดึงดูดจากแม่เหล็ก เช่น ก้อนหินที่วางอยู่บนขอบที่สูง
พลังงานจลน์ (Kinetic Energy) เป็นพลังงานที่เกิดขึ้นเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ เช่น รถที่กำลังวิ่ง ธนูที่พุ่งออกจากแหล่ง จักรยานที่กำลังเคลื่อนที่ เป็นต้น



วันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14
วันศุกร์  ที่  28 พฤศจิกายน  พ.ศ.  2557

ความรู้ที่ได้รับ
เทคนิคที่ใช้สำหรับเด็กมากที่สุด คือ การใช้คำถาม


การออกแบบสานสัมพันธ์บ้านกับโรงเรียน


การนำไปใช้ :  1.  ใช้คำถามเพื่อเป็นการกระตุ้นความคิดของเด็กเวลาทำกิจกรรม
                       2.   การใช้คำถามควรเป็นคำถามปลายเปิดเเพื่อให้เด็กคิดอย่าอิสระกว้าง
                       3.   โรงเรียน ครู ผู้ปกครองมีส่วนสำคัญในการพัฒนาเด็กจึงมีการจัดกิจกรรมสานความสัมพันธ์ขึ้นระหว่างโรงเรียนและบ้าน

ประเมิน
ตนเอง :  ยังนำเนื้อหาที่จะสอนเด็กมาแนะนำผู้ปกครองให้เรียนรู้ถึงในสิ่งที่จะสอนได้อย่างไร แต่ก็จะพยายามและทำให้ได้
เพื่อน :  ทุกคนมีความคิดและแนวคิดเป็นของตนเอง มีความตั้งใจและมุ่งมั่นในการทำกิจกรรม
อาจารย์ :   สามารถให้แนงคิด คำแนะนำที่ดี ต่อนักศึกษาบอกถึงรายละเอียดความเข้าใจของเนื้อหาที่ต้องการถ่ายทอดออกมา มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น





วันพฤหัสบดีที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2557

สรุปโทรทัศน์ครู



สรุปโทรทัศน์ครู
เรื่อง :  สอนไฟฟ้า5กิจกรรม
โดยครู กอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
โรงเรียนนนทรี วิทยา

กิจกรรมที่ 1 มารู้จักวงจรไฟฟ้ากันเถอะ
โดยครูจะมีอุปกรณ์คือแบตเตอรี่ หลอดไฟและสายไฟ  กิจกรรมนี้จะเป็นการทบทวนเด็กว่าวงจรไฟฟ้าคืออะไรและวงจรไฟฟ้าต่ออย่างไร ซึ่งวงจรไฟฟ้าก็จะประกอบด้วย แหล่งกำเนิดไฟฟ้า  ตัวนำไฟฟ้า และเครื่องใช้ไฟฟ้า
กิจกรรมที่ 2 สายสั้นสายยาวไฟติดพร้อมกันหรือไม่
กิจกกรมนี้จะมีสายไฟสองสี คือ สีแดงเป็นขั้วบวกและสีดำเป็นขั้วลบและนำมาต่อรวมเป็นวงจรขนาดใหญ่ก่อนที่จะทำกิจกกรมจะต้องมีการตรวจสอบสายไฟทุกเส้นว่ามีความสมบูรณ์  ก่อนการทดลองครูจะให้เด็กตั้งสมมติฐานขึ้นว่า สายไฟยาวติดก่อน สายไฟสั้นติดก่อน หรือติดพร้อมกันหลังจากนั้นลงมือปฏิบัติทำการทดลองปรากฏว่าไฟติดพร้อมกันเพราะไฟฟ้าจะมีตัวนำอยู่แล้วแบตเตอรี่ทำให้ไฟฟ้าเหล่านั้นไหลไปรอบๆวงจร ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นสายสั้นสายยาวไฟกันติดพร้อมกัน
กิจกกรมที่ 3 เชือกแสนสนุก
ครูจะมีเชือกให้นักเรียนกลุ่มละหนึ่งเส้นและให้เด้กทำการทดลอง โดยผู้ที่ออกแรงดึงเชือกจะเปรียบเสมือนแบตเตอรี่ซึ่งดึงให้มีการหมุนเวียนเหมือนกับกระแสไฟฟ้าที่วิ่งผ่านแต่ละช่วงของสายไฟแล้วก็ผ่านไปจากนั้นก็จะมีกระแสไฟฟ้าเข้ามา ทำให้เกิดการหมุนเวียนเป็นวงจร
กิจกรรมที่ 4 การไหลของไฟฟ้า หรรษากับโมเดล
อุปกรณ์ก็จะมีสายยางและแท่งเหล็กโดยมีลูกแก้วเป็นตัวสื่อครูถามว่าถ้าวางลูกแก้วไว้จะมีพลังงานอะไร คือ พลังงานศักย์ แล้วถ้านำลูกแก้วใส่ลงไปในสายยางจะเกิดอะไรขึ้น ลูกแก้วก็จะไหล นีกเรียนก็จะเห็นการเคลื่อนที่ของลูกแก้วจากพลังงานศักย์เป็นพลังงานจลน์ ซึ่งสายยางด้านบนจะเปรียบเหมือนแบตเตอรี่ขั้วบวกเพราะมีพลังงานศักย์เยอะกว่า สายยางที่สูงด้านล่างจะมีพลลังงานศักย์น้อยกว่า และเปรียบลูกแก้วที่ไหลลงมาเหมือนกระแสไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้าก็เปลี่ยนเป็นพลังงานแสง ดังนั้นกระแสไฟฟ้า คือการไหลของอิเล็กตรอน แต่ทิศทางของกระแสไฟฟ้าจะตรงข้ามการไหลของอิเล็กตรอน
กิจกรรมที่ 5 บันทึกแสดงความรู้ความเข้าใจเรื่องวงจรไฟฟ้าก่อนเรียนและหลังเรียน
เป็นการสรุปในการทำกิจกรรม และการประเมินเพื่อน ครู เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไขในครั้งต่อไป






สรุปงานวิจัย


วิจัยเรื่อง :  การพัฒนากระบวนการวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัยโดยใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
ผู้วิจัย : ณัฐชุดา  สาครเจริญ  บัณฑิตวิทยาลัย   มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

สรุปวิจัย :  การเรียนวิทยาศาตร์เริ่มเรียนได้ตั้งแต่เด็กปฐมวัย โดยการลงมือปฏิบัติ การลองผิดลองถูกและเรียนรู้จากการค้นพบด้วยตนเอง วิธีการเรียนบองเด็กมาจากประสบการณ์กิจกรรมการเรียนรู้ที่เด็กหยิบ จับ สัมผัสจากประสบการณ์ที่เด็กได้รับจะทำให้เด็กพัฒนาตนเองได้ตามวัยและเกิดการเรียนรู้จากการสังเกต การคิดและเกิดความเข้าใจจากการกระทำกิจกรรม
   กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมเพื่อการแสดงออก ความรู้ ความคิด และจิตนาการโดยแบ่งลักษณะออกเป็น 6 ลักษณะ
1.  ย้ำการเรียนด้วยศิลปเรียกว่า ศิลปะย้ำ
2.  จัดภาพการเรียนรู้เป็นงานศิลป์ เรียกว่า ศิลปะปรับภาพ
3.  เปลี่ยนสิ่งที่เรียนรุ้สู้ศิลป์ เรียกว่า ศิลปะเปลี่ยนแบบ
4.  ถ่ายโยงการเรียนรู้ด้วยศิลปะ เรียกว่า ศิลปะการถ่ายโยง
5.  บูรณาการเรียนรู้ในรูปศิลปะ เรียกว่า ศิลปะบูรณาการ
6.  ค้นหาความรู้จากศิลปะ เรียกว่า  ศิลปะค้นหา
ตัวแปรอิสระ คือ รูปแบบกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้ฃ
ตัวแปรตาม คือ ทักษะวิทยาศาสตร์ 6 ด้าน ดังนี้
1.  การสังเกต
2.  การจำแนก
3.  การวัด
4.  การมิติสัมพันธ์
5.  การสื่อสาร
6.  การลงความเห็น
เครื่องมือที่ใช้วิจัย
1. แผนการจัดกิจกรรมรูปแบบศิลปสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้
2. แบบประเมินการทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์พื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัย
ผลจากการจัดกิจกรรมก่อนและหลังมีพัฒนาการกระบวนการวิทยาศาสตร์ที่แตกต่างกัน ระดับ .01 และอยู่ในระดับดีทุกทักษะโดยเฉลี่ยสูงกว่าก่อนทำกิจกกรมซึ่งหมายถึงการจัดประสบการณ์รูปแบบกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ส่งผลให้เด็กปฐมวัยมีทักษะทางวิทยาศาสตร์ศูงขึ้น


วันเสาร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13
วันศุกร์  ที่  21  พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ความรู้ที่ได้รับ
ส่งงานสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาตร์




นำเสนอ
1. วิจัยเรื่อง ผลการจัดประสบการณ์5ทักษะวิทยาศาสตร์อนุบาล 2
2. การพัฒนาชุดการสอนวิทยาศาสตร์น่ารู้ระดับชั้นอนุบาล
3. ความสามารถคิดวิเคราะห์การจัดกิจกรรมกระบวนการวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
4. การพัฒนาทักษะพื้นฐานเด็กปฐมวัยการจัดกิจกรรมเครื่องดืมสมุนไพร
5. โทรทัศน์ครู กิจกรรมส่องนก
6. วิจัยรื่อง ทักษะวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัยการเล่านิทาน
7. โทรทัศน์ครูเรื่อง สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์
8. โทรทัศน์ครู จุดประกายนักวิทยาศาสตร์น้อย
การทำ cooking ขนมวาฟเฟอร์


อุปกรณ์:  ไข่  แป้ง   เนย  ถ้วย ช้อน  ลูกเกด  กล้วย   ผงโอวันติน  น้ำ
วิธีทำ :  1.  น้ำแป้งผสมกับน้ำคนให้เข้ากันแล้วใส่เนยลงไปคนให้เข้ากัน
             2.  นำไปอบเป็นอันเสร็จ

การนำไปใช้ :  1. การทำcooking  มีมากมายหลายแบบแล้วแต่เราจะนำไปสอน
                       2. มีความเป็นระเบียบและเป็นระบบ

ประเมิน
ตนเอง :  สามารถที่จะทำกิจกรรมด้วยความสนุกสนานศึกษาขั้นตอนการทำกิจกรรมที่อาจารย์ได้สาธิตและวางระเบียบระบบเพื่อนำไปใช้ในการสอน
เพื่อน :  มีความสุขกันมากในการทำกิจกรรม มีความตั้งใจ
อาจารย์ : ให้คำชี้แนะการทำกิจกรรมและสาธิตการสอนให้นักศึกษาเห็นอย่างชัดเจน  จัดเตรียมอุปกรณ์ให้ทำกิจกรรมกันอย่างสนุกสนาน



วันเสาร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12
วันศุกร์  ที่่  14  พฤศิกายน   พ.ศ.  2557

ความรู้ที่ได้รับ

นำเสนอแผนการสอนต่อ
วันที่ 1  หน่วยแปรงสีฟัน  เรื่อง ชนิดของแปรงสีฟัน
ขั้นนำ : ครูและเด็กท่องคำคล้องจองแปรงสีฟัน  แล้วถามเด็กว่าในคำคล้องจองมีแปรงสีฟันอะไรบ้าง
แล้วเด็กๆรู้จักแปรงสีฟันอะไรอีกบ้าง โดยเขียนเป็น mind map
ขั้นสอน :  มีรูปภาพให้เด็กดูแล้วถามว่า แปรงสีฟันอะไร  แล้วนำไปติดที่ บอดร์หรือกระดาน และให้เด็กๆนับว่าวันนี้ครูนำแปรงสีฟันมากี่ชนิด แล้วขอตัวแทนเด็กนำตัวเลขมาติด จากนั้นตั้งเกณฑ์แยกแปรงสีฟัน 1 เกณฑ์  สมมติว่า แยกแปรงสีฟันเด็กทารก แล้วนำแปรงสีฟันเด็กทารกออกมา  แล้วเด็กๆคิดว่าแปรงสีฟันเด็กทารกมากว่าหรือน้อยกว่า พิสูจน์โดยการจับคู่ 1:1  แล้วแปรงสีฟันเด็กทารกหมดก่อนแสดงว่าแปรงสีฟันเด็กทารกน้อยกว่า แปรงสีฟันที่ไม่ใช่เด็กทารกอยู่เท่าไร  อยู่ 1
ขั้นสรูป :  ทบทวน
วันที่ 2  หน่วยผีเสื้อ  เรื่อง ลักษณะของผีเสื้อ
ขั้นสอน :  เพลงผีเสื้อ แล้วทำเด็กว่ามีผีเสื้ออะไรบ้าง  แล้วเด็กๆรู้จักผีเสื้ออะไรอีกบ้าง
ขั้นสอน : นำผีเสื้อสองชนิดมาให้เด็กๆรู้จัก แล้วถามว่าเป็นผีมีสีอะไร ขนาด รูปร่าง ส่วนประกอบของผีเสื้อ  แล้วนำมาจดบันทึกเป็น กราฟฟิก
ขั้นสรุป : ครูและเด็กทบทวน และร้องเพลงผีเสื้อ
กลุ่มหน่วยกล้วย  เรื่อง ชนิดของกล้วย
ในการสอนนั้นครูจะต้องมีเทคนิดวิธีการ เพื่อดึงดูดความสนใจของเด็ก ให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี มีประสบการณ์ คอยชี้แนะอยู้ใกล้ๆ  เปิดโอกาสในการเล่นอย่างอิสระ ได้ให้ใช้ประสามสัมผัสทั้ง 5 ในการรับรู้สิ่งต่างๆรอบตัว

นำเสนอวิจัย
เรื่องที่ 1 ผลการจัดประสบการณ์วิทยาศาตร์สำหรับเดผ้กปฐมวัยนอกห้องเรียน   ทักษะการสังเกต โดยผ่านการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน โดยผ่านการรับรู้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
เรื่องที่ 2 ผลการจัดประสบการณ์เสริมที่มีผลต่อการสังเกตสำหรับเด็กปฐมวัย   สังเกต เช่น  ลักษณะ สี    รูปร่าง ขนาด
เรื่องที่ 3 การคิดเชิงเหตุผลที่ได้รับทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์   การเป็นเหตุเป็นผล

การทำ cooking  จะต้องอธิบายขั้นตอนการทำให้กับเด็ก เช่น  อุปกรณ์การทำมีอะไรบ้าง     ครูสาธิตวิธีการทำให้เด็กดู เป็นตัวอย่าง






การนำไปใช้
1.  การสอนเด็กครูจะต้องบอก อธิบายวิธีการต่างๆ ให้เด็กดู
2.  คำนึงถึงความปลอดภัยของเด็ก และความสะอาด

ประเมิน 
ตนเอง :  มีความพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งต่างๆเพิ่มมากขึ้น  มีการจดบันทึกการสอนเพื่อนำมาเป็นแนวทางการสอนในอนาคตต่อไป
เพื่อน  :  มีความตั้งใจ สนุกสนานในการทำ cooking  เป็นอย่างมาก มีการช่วยเหลือกัยรู้จักการรอคอยแบ่งปันกัน
อจารย์ :  ให้ความรู้หลายๆอย่างเพื่อเป็นแนวทางการสอน สาธิตวิธีการต่างๆเพื่อให้นศ. เห็นภาพได้ชัดเจนขึ้น  อธิบายราบละเอียดของการสอนบอกขั้นตอนอย่างละเอียด



วันเสาร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทิน ครั้งที่ 11 
วันศุกร์  ที่  7 พฤศจิกายน  พ.ศ. 2557

ความรู้ที่ได้รับ

นำเสนอแผนการสอนวิทยาศาสตร์
วันที่ 1    เรื่องกล้วย banana            ชนิดของกล้วย
วันที่ 2    เรื่องกบ  frog                     ลักษณะของกบ
วันที่ 3    เรื่องกะหล่ำปลี  cabbage    ประโยชน์และข้อพึงระวัง
วันที่ 4    เรื่องส้ม orange                  การทำน้ำส้ม
วันที่ 5    เรื่องดอกมะลิ   Jasmine      การทำดอกมะลิทอด

วันที่ 3    เรื่องไก่ chicken   ที่อยู่ของไก่ ได้แก่  สุ่ม  เล้า  บ้าน
                          อาหาร   ได้แก่    ไส้เดือน  ข้าวสาร  ข้าวโพด                                                        ข้าวเปลือก
                          การดูแลรักษา  ได้แก่   การฉีดวัคซีนทุก 6 เดือน
วันที่ 4    เรื่องปลา fish  การทอดปลา



การสอนแต่ละครั้งเราจะต้องมีการเตรียมอุปกรณ์ที่พร้อม และเตรียมการสอนมาเป็นอย่างดี เช่น การให้เด็กทำ cooking จะต้องมีการสาธิตและอธิบายอุปกรณ์ และข้อระวังในการทำอาหาร เช่น ความร้อนจากกะทะ หรือน้ำมัน อันตรายจากมีด เป็นต้น  ในการสอนแต่ละครั้งครูควรจดบันทึกพฤติกรรมการทำกิจกรรมของเด็กด้วย

การนำไปใช้  1.  ดูความต้องการของเด็กที่จะสอน
                   2.  สื่อหรือแผนการสอนมีความน่าสนใจและเกิดความ                           สนุกสนานเกิดขึ้น
                   3.   ให้ความสำคัญกับเด็กทุกคนอย่างสม่ำเสมอกัน

ประเมิน          
ตนเอง :  มีความร่วมมือในการนำเสนอ อาจจะมีบางอย่างที่ดู
             ผิดพลาดไปบาง
เพื่อน :    บางกลุ่มยังไม่พร้อมที่จะนำเสนอ และเตรียมการสอนไม่ดี                 พอจึงต้องมีการแก้ไขแต่เพื่อนมีความพยายามในการนำ                   เสนอเป็นอย่างดี
อาจารย์ :  มีการบอกแนวทางการสอนโดยสอนเป็นแบบอย่างเพื่อให้นศ.มองเห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น และแนะนำเทคนิควิธีการสอนเพื่อให้มีความสมบรูณ์มากขึ้นในการสอนครั้งต่อไป